วันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2558

"๔ ปี คปก. กับยุทธศาสตร์ด้านสวัสดิการสังคม และแรงงาน" โดย สุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย


ชวนอ่านและดาวน์โหลด

ปี คปก. กับยุทธศาสตร์ด้านสวัสดิการสังคม และแรงงาน"
https://drive.google.com/file/d/0B7qNcF2JbPyCSFg1UDFhbVliSEk/view?usp=sharing
...จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน ปฏิรูปเพื่อคุณภาพชีวิต 
ความเท่าเทียม และเป็นธรรม...

  โดย สุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย




 ปี คปก. กับยุทธศาสตร์ด้านสวัสดิการสังคม และแรงงาน"
...จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน ปฏิรูปเพื่อคุณภาพชีวิต 
ความเท่าเทียม และเป็นธรรม...

  โดย สุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย



ชวนอ่านและดาวน์โหลด

 ปี คปก. กับยุทธศาสตร์ด้านสวัสดิการสังคม และแรงงาน"
https://drive.google.com/file/d/0B7qNcF2JbPyCSFg1UDFhbVliSEk/view?usp=sharing
...จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน ปฏิรูปเพื่อคุณภาพชีวิต 
ความเท่าเทียม และเป็นธรรม...

  โดย สุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย

วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2558

หนังสือ ไทยเกรียง องค์กรแรงงานหญิงต้นแบบ

ชวนอ่าหนังสือและดาวโหลดหนังสือได้

ไทยเกรียง องค์กรแรงงานหญิงต้นแบบ



 

สามารถอ่านและดาวน์โหลดได้ฟรีที่นี่

ดาวโหลดหนังสือตามสารบัญ

บทนำ คนงานหญิงไทยเกรียง กับการต่อสู้ที่ยั่งยืน
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

บทนำ  คารวะจิตวิญญาณการต่อสู้ของพี่น้องไทยเกรียง : ตำนานที่มีชีวิต
โดย สุนี ไชยรส (คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย)

๑ สาวฉันทนา กับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย

๒ ตำนานการต่อสู้ของคนงานหญิง กับการเกิดสหภาพแรงงานสิ่งทอไทยเกรียง

๓ สหภาพแรงงานไทยเกรียง กับบทบาทในกลุ่มย่านพระประแดง
และการเคลื่อนไหวขบวนการแรงงานในการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านแรงงาน

๔ โรงงานทอสู่ยุคใช้เครื่องจักร โละทิ้งคนงาน

๕ ข้อพิพาทไทยเกรียง... ความตั้งใจล้มล้างสหภาพ

๖ ชีวิตนอกรั้วโรงงาน : การปรับตัวของแรงงานหญิงไทยเกรียง

๗ บทสรุปการต่อสู้ของไทยเกรียง สู่การเป็นองค์กรชุมชน

แนวร่วมคนไทยเกรียง

แนะนำตัวตน

หรือสามารถดาวโหลดหนังสือฉบับเต็มได้ฟรีที่นี่

เสียงประชาชน เปลี่ยนประเทศไทย : อนาคตรัฐธรรมนูญ (24 มิ.ย. 58)









วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2558

หนังสือ "ชาวนาไทยเขาถูกบังคับให้จับปืน? โดยพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย​(ปี ๒๕๑๘)


ชวนอ่านและดาวน์โหลดได้ฟรี

หนังสือ "ชาวนาไทยเขาถูกบังคับให้จับปืน? โดยพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย​(ปี ๒๕๑๘)









http://comradeblogcom.blogspot.com/2015/06/blog-post_24.html

วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2558

หนังสือ "เฟมินิสต์ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชน : การต่อสู้บนเส้นทางแห่งความเสมอภาค "เล่าโดย สุนี ไชยรส

ชวนอ่านหนังสือและดาวน์โหลดได้...

เฟมินิสต์  ประชาธิปไตย  และสิทธิมนุษยชน
: การต่อสู้บนเส้นทางแห่งความเสมอภาค

เล่าโดย

สุนี ไชยรส

ปรับปรุงจากวิทยานิพนธ์ เรื่อง "การหลอมรวมอุดมการณ์ เฟมินิสต์ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชน
: ศึกษาผ่านประสบการณ์ สุนี ไชยรส"

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สตรีศึกษา)
สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมสาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๗













ชวนอ่านหนังสือและดาวน์โหลดได้...

เฟมินิสต์  ประชาธิปไตย  และสิทธิมนุษยชน
: การต่อสู้บนเส้นทางแห่งความเสมอภาค

เล่าโดย

สุนี ไชยรส   

      มีสาระ ๖ บท ดังนี้


ชื่อเรื่อง 

หน้าอนุมัติวิทยานิพนธ์ 

บทคัดย่อภาษาไทย 

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 

กิตติกรรมประกาศ

สารบาญ

สารบาญแผนภูมิ 

บทที่ ๑ ฉัน เฟมินิสต์ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน

บทที่ ๒ การสร้างทฤษฎีจากประสบการณ์แบบผู้หญิง

บทที่ ๓ คำให้การ : เฟมินิสต์ ๑๔ ตุลา
จากใจผู้เล่าเรื่อง 

บทที่ ๑ ฉัน เฟมินิสต์ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน 
https://drive.google.com/file/d/0B7qNcF2JbPyCNGZnQlRaUlJwcEE/view?usp=sharing&resourcekey=0-PMCaCqap6kEWz35qCBGRaw

บทที่ ๒ องค์ความรู้จากประสบการณ์แบบ
ผู้หญิง 

บทที่ ๓ เฟมินิสต์ บนเส้นทางประชาธิปไตย 

บทที่ ๔ เฟมินิสต์ ในสถานการณ์เผด็จการ 

บทที่ ๕ เฟมินิสต์ ๑๔ ตุลา : เรียนรู้ท่ามกลางการต่อสู้ 

บทที่ ๖ กระบวนการหลอมรวมอุดมการณ์ เฟมินิสต์ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชน 


บทส่งท้าย 

อ้างอิง 

หรือท่านสามารถอ่านหนังสือฉบับเต็มและดาวน์โหลดฟรีที่นี่

วิทยานิพนธ์ เรื่อง การหลอมรวมอุดมการณ์ เฟมินิสต์ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชน
: ศึกษาผ่านประสบการณ์ สุนี ไชยรส

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สตรีศึกษา)
สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมสาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๗

สามารถอ่านและดาวน์โหลดได้ที่นี่
กระแสเรียกร้องให้นักศึกษาประสานกรรมกรชาวนา  ทำให้นักเรียนนักศึกษาปัญญาชนทั้งหญิงชาย ต่างโถมตัวเข้าไปในรูปแบบต่างๆ   ฉันตัดสินใจเข้าไปเรียนรู้ชีวิตกรรมกรทอผ้าที่โรงงานเทยิ่นดอนเมืองซึ่งเป็นโรงงานขนาดใหญ่ประมาณสองพันคน   ส่วนใหญ่ผู้หญิง   ฉันใช้วุฒิ ม.6 เข้าไปสมัครเป็นคนงานคุมเครื่องทอและนอนในหอพักโรงงาน    ได้ค่าแรงประมาณเดือนละ 600 บาท 
ชีวิตที่เหน็ดเหนื่อยของคนงานทอผ้าที่อ่านในหนังสือหรือฟังจากคนงาน     ก็ยังไม่ซาบซึ้งเท่ากับชีวิตจริงที่ต้องเผชิญด้วยตัวเอง 






ชื่อเรื่อง 

หน้าอนุมัติวิทยานิพนธ์ 

บทคัดย่อภาษาไทย 

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 

กิตติกรรมประกาศ

สารบาญ

สารบาญแผนภูมิ 

บทที่ ๑ ฉัน เฟมินิสต์ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน

บทที่ ๒ การสร้างทฤษฎีจากประสบการณ์แบบผู้หญิง

บทที่ ๓ คำให้การ : เฟมินิสต์ ๑๔ ตุลา

วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ทัศนะ สุนี ไชยรส เรื่องประชามติร่างรัฐธรรมนูญ

https://www.facebook.com/prachamati.org/photos/a.444295472396428.1073741828.442692199223422/465997990226176/?type=1&pnref=storyhttps://www.facebook.com/prachamati.org/photos/a.444295472396428.1073741828.442692199223422/465997990226176/?type=1&pnref=story




สุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กล่าวในเวทีเสวนา “ทำประชามติอย่างไร ไม่ให้เสียของ?” ว่า ในสังคมมีคนที่ไม่เห็นด้วยกับการลงประชามติรัฐธรรมนูญ เพราะ ไม่อยากยุ่งด้วย รัฐธรรมนูญฉบับนี้ไม่เข้าท่าตั้งแต่ต้นทาง แต่ในทัศนะของตน หรือกลุ่มที่ทำงานร่วมกัน มองว่า รัฐธรรมนูญไม่ใช่ยาสารพัดนึก ไม่ใช่สูตรสำเร็จ ไม่ใช่สิ่งที่จะมีหลักประกันแน่นอน หลายเรื่องเขียนไว้ดีแต่ไม่มีผลในเชิงปฏิบัติ
อย่างไรก็ตาม สังคมไทยเริ่มจะเรียนรู้จากการร่างรัฐธรรมนูญหลายครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากเหตุการณ์ พฤษภาฯ 35 ว่า รัฐธรรมนูญต้องไม่อยู่ในมือของนักกฎหมาย หรือใครคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเป็นผลให้เกิดการมี สสร. และ ร่าง รัฐธรรมนูญ 2540 แต่ก็ไม่ใช่สำเร็จสมบูรณ์พร้อม
สุนี ชี้ว่า ต้องมองรัฐธรรมนูญเป็นการต่อรองในสถานการณ์หนึ่งๆ อยู่ที่ว่าภาคประชาชนจะเข้มแข็งขนาดไหน ยกตัวอย่าง ตั้งแต่หลัง 14 ตุลาคม 2516 รัฐธรรมนูญก็ออกมาดูดีพอสมควร จากนั้นก็วกวนไปมา ขึ้นอยู่กับการต่อรองของสถานการณ์ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องผลักดันเรื่องรัฐธรรมนูญให้ดีที่สุด สร้างการเรียนรู้ และเปิดพื้นที่ของภาคประชาชนให้มาก อย่างรัฐธรรมนูญ ปี 40 จากที่เคยกระจุกตัวอยู่กับวงเล็กๆ กลายเป็นผู้คนหันถกเถียงแลกเปลี่ยนกันอย่างกว้างขวาง ทำให้เกิดการตื่นตัวและใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นวัฒนธรรมใหม่
ส่วนเรื่องประชามตินั้น ต้องเริ่มต้นจากการเรียกร้องของภาคประชาชนและหลายฝ่าย แม้เราจะไม่มีอำนาจต่อรองหรือเข้าไปมีส่วนร่วม แต่การที่สามารถทำให้เรื่องประชามติกลายเป็นสิ่งที่ต้องเดินหน้าต่อและทุกฝ่ายต้องยอมรับก็เป็นขั้นตอนแรกที่เป็นประโยชน์มากที่สุด
อ่านรายละเอียดงาน “ทำประชามติอย่างไร ไม่ให้เสียของ” ได้ที่https://www.prachamati.org/news/258



วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ข้อเสนอต่อรัฐธรรมนูญ ของ คปก

เปิดข้อเสนอคปก.ต่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับกมธ.ยกร่างฯ ยืนยันข้อเสนอเดิม และเพิ่มเติมหลายประเด็นตามร่างฯล่าสุด พร้อมเปรียบเทียบกับข้อเสนอฉบับกรรมาธิการยกร่างฯ
คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) โดย ศาสตราจารย์ ดร. คณิต ณ นคร ประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย จัดทำความเห็นและข้อเสนอแนะเรื่อง “ข้อเสนอต่อร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ” เสนอต่อนายกรัฐมนตรี ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมา โดยคปก.ยืนยันความเห็นตาม “ข้อเสนอกรอบการยกร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” ที่ทางคปก.ได้เคยเสนอไปแล้วเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ในทุกประเด็น และเพิ่มเติมหลายประเด็นสำคัญจากร่างฯล่าสุด http://www.lrct.go.th/th/?p=16500
ตารางเปรียบเทียบข้อเสนอคปก.กับฉบับกรรมาธิการยกร่างฯhttp://www.lrct.go.th/…/%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B…
บันทึกความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ http://www.lrct.go.th/th/?wpfb_dl=1740
ขอบคุณภาพประกอบจาก www.radioparliament.net และ fanthai.com




วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2558

“ทำประชามติอย่างไร ไม่ให้เสียของ?”




https://youtu.be/lu26TIYgiPUhttps://youtu.be/lu26TIYgiPU


สตรีมสดเมื่อ 7 มิ.ย. 2015
เสวนา “ทำประชามติอย่างไร ไม่ให้เสียของ?”

วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2558 เวลา 13.00 – 16.00 น.
ณ โรงแรมบางกอก ชฎา (ข้าง Swissotel ใกล้ MRT ห้วยขวาง กรุงเทพฯ)

วิทยากร
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร ประธานสมาคมเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ประภาส ปิ่นตบแต่ง อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปองขวัญ สวัสดิภักดิ์ ตัวแทนกลุ่มเรียกร้องประชามติที่เป็นประชา­ธิปไตย
วีระ สมความคิด เลขาธิการเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชั่น
สุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.)

ดำเนินรายการโดย ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข บรรณาธิการเว็บไซต์ประชาไท

วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558

จับตาประเด็นร้อนในร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รอดหรือไม่...วิทยุจุฬา


จับตาประเด็นร้อนในร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รอดหรือไม่

จับตาประเด็นร้อนในร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รอดหรือไม่

ผู้ดำเนินรายการ       อภิศักดิ์ สุวรรณศักดิ์

วิทยากรรับเชิญ

อ.สุนี ไชยรส รองประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.

http://www.curadio.chula.ac.th/Program/yt/Program-Detail.php?id=254am-Detail.php?id=254